หลักสูตร Reskill/Upskill

หลักสูตร Reskill/Upskill เป็นหลักสูตรอบรมระยะสั้น (Short Course) ที่ออกแบบมาเพื่อเสริมทักษะเฉพาะทางที่จำเป็นสำหรับวิชาชีพ และสามารถวัดระดับได้ด้วยเกณฑ์ที่ชัดเจนโดยหลักสูตรที่จัดทำขึ้น ภายใต้ความร่วมมือกับสำนักส่งเสริมวิชาการและจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มีรูปแบบการเรียนที่หลากหลาย ทั้งการเรียนเชิงปฏิบัติการ (Onsite) การอบรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ (Online) และการเรียนในรูปแบบ ผสมผสาน (Hybrid)



รายชื่อรายวิชาและหลักสูตร

บทความ

...
ปิดช่องว่างทักษะของบุคลากรในองค์กรด้วย "Reskill และ Upskill"

"ช่องว่างทักษะ หรือ Skill gap" คือภาวะความแตกต่างระหว่างทักษะ...

อ่านเพิ่มเติม...
...
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)

Lifelong Learning คือ รูปแบบหนึ่งของการศึกษาที่ผู้เรียนเริ่มต้นเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ

อ่านเพิ่มเติม...
...
ข้อดีที่น้อง ๆ ม.ปลาย ได้รับ จากการสมัครเข้าเรียนรายวิชาบน RERU4Life

มีสิทธิใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย...

อ่านเพิ่มเติม...
...
Lifelong learning การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อรองรับการพลิกโฉมฉับพลันและวิกฤตการณ์โลก

สอวช. เผยแพร่ "รายงานการศึกษาเรื่อง...

อ่านเพิ่มเติม...

วิดีโอคลิป

การประยุกต์ใช้ AI ในสังคมผู้สูงอายุ - AI for Aging Society

ในปัจจุบันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มีความสำคัญและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายวงการ

เข้าใจปัญหาความเหลื่อมล้ำการศึกษาไทย

เข้าใจปัญหาความเหลื่อมล้ำการศึกษาไทย วงจรความยากจนไม่ได้เกิดจากค่าแรงและสวัสดิการที่ไม่เพียงพออย่างเดียว แต่เกิดจากการขาดโอกาสทางการศึกษาด้วย …

สนุกกับชอล์ก | บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ชอล์กใช้วาดรูปบนผิวขรุขระได้ ทำมาจากผงเล็ก ๆ รวมกันเป็นแท่ง มาดูกันว่าลักษณะของชอล์กจะเป็นแบบไหน จะวาดรูปตรงไหนได้บ้าง แล้วเราจะทำชอล์กขึ้นมาใหม่ได้อย่างไร

อาจารย์ผู้สอน RERU4Lift

FQA

คำตอบ :ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ( LMS : Learning Management System ) ซึ่งนักวิชาการหลายท่านจะเรียกว่า ระบบบริหารจัดการคอรส์ ( CMS : Course Management System ) หรือ ระบบบริหารจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ ( LCMS :Learning Content Management System ) นับว่าเป็นระบบที่มีเครื่องมือสำหรับการจัดการการเรียนการสอนในหลายๆด้าน ได้แก่ 1. เครื่องมือสำหรับผู้สอนเพื่อนำเนื้อหาในรายวิชาที่มีอยู่แล้ว ( Course Ware ) ในรูปแบบไฟล์เอกสาร ไฟล์ภาพ หรือ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำเสนอให้แก่ผู้เรียน 2. เครื่องมือสำหรับผู้สอนใช้สำหรับประกาศเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอนรวมไปถึงกำหนดการในรายวิชาให้แก่ผู้เรียน (Announcement ) 3. เครื่องมือการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เช่น กระดานข่าว ( Webboard ) และ ห้องสนทนา ( Chat ) 4. เครื่องมือในการเก็บสถิติต่างๆของผู้เรียน ( Student Progress Tracking ) เช่น การตรวจสอบจำนวนผู้มาเข้าเรียน และ เก็บสถิติการเข้าใช้ เป็นต้น

คำตอบ : การใช้งานสำหรับอาจารย์และการเปิดรายวิชาให้นักศึกษาเข้าใช้งาน ใช้รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน สามารถแจ้งความจำนงมาทาง admin โดยระบุข้อมูลมาด้วย คือ รหัสผู้ใช้ รหัสผ่าน และรหัสวิชาที่ต้องการเปิดสอน การใช้งานสำหรับนักศึกษา นักศึกษาทุกคนที่ลงทะเบียนเรียนตามวิชาที่เปิดสอนในระบบ ทางผู้ดูแลระบบจะแจ้งข้อมูล รหัสผู้ใช้ และ รหัสผ่าน เพื่อใช้ในการเข้าใช้งานระบบ ผ่านทาง email ของนักศึกษา การใช้งานสำหรับบุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใช้ระบบได้โดย สมัครเป็นสมาชิกของระบบ ซึ่งสามารถจะเข้าดูเนื้อหารายวิชาที่เปิดให้เข้าดูและสามารถลงทะเบียนเรียนได้

คำตอบ : ไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัครสมาชิกในระบบ แต่หากต้องการลงทะเบียนเรียน จะมีค่าใช้จ่ายตามที่รายวิชานั้นแจ้งไว้ ตอนลงทะเบียนเรียน ดูเอกสารอ้างอิงได้จากไฟล์ ค่าธรรมเนียม

คำตอบ : มีส่วนลดค่าธรรมเนียมในการลงทะเบียนประเภทรายวิชาและชุดวิชาในอัตราร้อยละ 20 แก่บุคคลดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า 2. นักศึกษาและบุคลากรซึ่งสังกัดมหาวิทยาลัยศิลปากร 3. ศิษย์เก่าซึ่งสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร 4. ผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป 5. นักศึกษาในระบบคลังหน่วยกิตที่เคยลงทะเบียนรายวิชาหรือชุดวิชาในระบบคลังหน่วยกิตมาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา 6. นักศึกษาในระบบคลังหน่วยกิตที่เคยลงทะเบียนหลักสูตรระยะสั้นหรือหลักสูตรฝึกอบรมมาแล้วอย่างน้อย 1 หลักสูตร